ถุงกันสนิมคืออะไร

ถุงกันสนิมคืออะไร

ถุงกันสนิมคืออะไรถุงพลาสติกกันสนิมหรือถุง VCI (Volatile Corrosion Inhibitor) จะอาศัยหลักการในการปล่อยไอระเหยจากเนื้อถุงเพื่อไปเกาะที่ผิวโลหะทำหน้าที่เหมือนเป็นชั้นฟิล์มเคลือบที่ผิวโลหะไว้ เพื่อแทนการทาน้ำมันกันสนิมหรือการทาจาระบี

ถุงกันสนิมคืออะไร
ถุงกันสนิมคืออะไร

มีข้อดีคือเมื่อนำชิ้นงานออกจากถุงกันสนิมก็สามารถนำไปใช้งานต่อได้ทันทีโดยไม่ต้องเช็ดล้างทำความสะอาดคราบน้ำมันให้สกปรกเลอะเทอะและเกิดของเสียจากการล้างทำความสะอาดชิ้นงาน ลดมลพิษ รักษ์โลก

ถ้าในกรณีชิ้นงานมีจำนวนมาก พื้นผิวของชิ้นงานก็มีจำนวนมากไปด้วยและกล่องมีขนาดใหญ่ การที่จะหวังพึ่งสารจากเนื้อถุงพลาสติกกันสนิมเพียงอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอ โดยเฉพาะพื้นผิวของชิ้นงานที่อยู่ตรงกลางของกล่องหรืออาจจะเบาบางลง ตามรูปกราฟิคด้านล่าง

ถุงกันสนิมคืออะไร
ถุงกันสนิมคืออะไร

ตามหลักการแพคกิ้งด้วยบรรจุภัณฑ์กันสนิม (VCI Packing Best Practice Guideline) เราจึงแนะนำให้เพิ่มความเข้มข้นด้วยการวางขั้นส่วนตรงกลางของชิ้นงานด้วยกระดาษกันสนิม (VCI Kraft Paper) ตามรูปสาธิตการใช้งานด้านล่าง เปรียบเทียบให้เห็นภาพก็เหมือนกับการที่วางน้ำน้ำหอมปรับอากาศ 1ชิ้นในตู้เสื้อผ้า กับวาง1ชิ้นขนาดเท่ากันในตู้คอนเทรนเนอร์ แน่นอนว่าความหอมหรือความเข้มข้นของสารในตู้ทั้งสองขนาดไม่เท่ากัน เนื่องจากปริมาตรไม่เท่ากัน ดังนั้นถ้าต้องการให้ความเข้มข้น (ความหอม) ในตู้คอนเทรนเนอร์เพิ่มขึ้น สามารถทำได้โดยการเพิ่มจำนวนแผ่นน้ำหอมมากขึ้น เป็น 2,3…5ชิ้น

 

ถุงกันสนิมคืออะไร
ถุงกันสนิมคืออะไร

จากรูปกราฟฟิคด้านบนแสดงให้เห็นว่าเมื่อเราเพิ่มแผ่นกระดาษกันสนิม (VCI Kraft Paper) ไว้ตรงกลางของชิ้นส่วนโลหะ ทำให้สารกันสนิมมีความเข้มข้นมากขึ้น

ถุงกันสนิมคืออะไร
ถุงกันสนิมคืออะไร

แห้งสนิทพิชิตสนิม

แห้งสนิทพิชิตสนิม
แห้งสนิทพิชิตสนิม

ข้อผิดพลาดที่มักพบกับการเกิดสนิม

ในหัวข้อนี้เป็นการรวบรวม ข้อผิดพลาดจากการทำงานหรือกระบวนการทำงานต่างๆที่สามารถส่งผลให้เกิดสนิมขึ้นได้  ได้นำมาสรุปรวบเพื่อให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น ว่า กระบวนการที่ส่งต้องสินค้าต่างๆ นับร้อยวิธี แบบไหน ก้อมีโอกาสที่จะเกิดสนิม

1. ไม่สวมถุงมือเมื่อใช้กับชิ้นส่วนโลหะ

2. มีชิ้นส่วนโลหะที่สัมผัสโดยตรงกับ: ลังไม้, พาเลท, กล่องกระดาษลูกฟูกเป็นต้น

3. ปล่อยให้ชิ้นส่วนโลหะถูกเปิดออกและไม่มีการป้องกันภายในโรงงาน

4. จัดเก็บชิ้นส่วนโลหะในพื้นที่การผลิตหรือบริเวณที่สามารถเกิดความร้อนได้

5. ผิดพลาดตรงที่ไม่ทำให้ชิ้นส่วนโลหะแห้งสนิทหลังจากการทำความสะอาด Continue reading แห้งสนิทพิชิตสนิม

หนีร้อนไปพึ่งเย็น

หนีร้อนไปพึ่งเย็น
หนีร้อนไปพึ่งเย็น

ข้อผิดพลาดที่มักพบกับการเกิดสนิม

ในหัวข้อนี้เป็นการรวบรวม ข้อผิดพลาดจากการทำงานหรือกระบวนการทำงานต่างๆที่สามารถส่งผลให้เกิดสนิมขึ้นได้  ได้นำมาสรุปรวบเพื่อให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น ว่า กระบวนการที่ส่งต้องสินค้าต่างๆ นับร้อยวิธี แบบไหน ก้อมีโอกาสที่จะเกิดสนิม

1. ไม่สวมถุงมือเมื่อใช้กับชิ้นส่วนโลหะ

2. มีชิ้นส่วนโลหะที่สัมผัสโดยตรงกับ: ลังไม้, พาเลท, กล่องกระดาษลูกฟูกเป็นต้น

3. ปล่อยให้ชิ้นส่วนโลหะถูกเปิดออกและไม่มีการป้องกันภายในโรงงาน

4. จัดเก็บชิ้นส่วนโลหะในพื้นที่การผลิตหรือบริเวณที่สามารถเกิดความร้อนได้

5. ผิดพลาดตรงที่ไม่ทำให้ชิ้นส่วนโลหะแห้งสนิทหลังจากการทำความสะอาด Continue reading หนีร้อนไปพึ่งเย็น

ห้ามประชิดติดกับไม้เด็ดขาด

ห้ามประชิดติดกับไม้เด็ดขาด
ห้ามประชิดติดกับไม้เด็ดขาด

ข้อผิดพลาดที่มักพบกับการเกิดสนิม

ในหัวข้อนี้เป็นการรวบรวม ข้อผิดพลาดจากการทำงานหรือกระบวนการทำงานต่างๆที่สามารถส่งผลให้เกิดสนิมขึ้นได้  ได้นำมาสรุปรวบเพื่อให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น ว่า กระบวนการที่ส่งต้องสินค้าต่างๆ นับร้อยวิธี แบบไหน ก้อมีโอกาสที่จะเกิดสนิม

1. ไม่สวมถุงมือเมื่อใช้กับชิ้นส่วนโลหะ

2. มีชิ้นส่วนโลหะที่สัมผัสโดยตรงกับ: ลังไม้, พาเลท, กล่องกระดาษลูกฟูกเป็นต้น

3. ปล่อยให้ชิ้นส่วนโลหะถูกเปิดออกและไม่มีการป้องกันภายในโรงงาน

4. จัดเก็บชิ้นส่วนโลหะในพื้นที่การผลิตหรือบริเวณที่สามารถเกิดความร้อนได้

5. ผิดพลาดตรงที่ไม่ทำให้ชิ้นส่วนโลหะแห้งสนิทหลังจากการทำความสะอาด Continue reading ห้ามประชิดติดกับไม้เด็ดขาด

ไม่สวมถุงมือเมื่อใช้กับชิ้นส่วนโลหะ

 สวมถุงมือช่วยป้องกันสนิม
สวมถุงมือช่วยป้องกันสนิม

ข้อผิดพลาดที่มักพบกับการเกิดสนิม

ในหัวข้อนี้เป็นการรวบรวม ข้อผิดพลาดจากการทำงานหรือกระบวนการทำงานต่างๆที่สามารถส่งผลให้เกิดสนิมขึ้นได้  ได้นำมาสรุปรวบเพื่อให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น ว่า กระบวนการที่ส่งต้องสินค้าต่างๆ นับร้อยวิธี แบบไหน ก้อมีโอกาสที่จะเกิดสนิม

1. ไม่สวมถุงมือเมื่อใช้กับชิ้นส่วนโลหะ

2. มีชิ้นส่วนโลหะที่สัมผัสโดยตรงกับ: ลังไม้, พาเลท, กล่องกระดาษลูกฟูกเป็นต้น

3. ปล่อยให้ชิ้นส่วนโลหะถูกเปิดออกและไม่มีการป้องกันภายในโรงงาน

4. จัดเก็บชิ้นส่วนโลหะในพื้นที่การผลิตหรือบริเวณที่สามารถเกิดความร้อนได้

5. ผิดพลาดตรงที่ไม่ทำให้ชิ้นส่วนโลหะแห้งสนิทหลังจากการทำความสะอาด Continue reading ไม่สวมถุงมือเมื่อใช้กับชิ้นส่วนโลหะ

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save